TKP HEADLINE

ประเพณีนมัสการหลวงพ่อองค์ดำ

 


หลวงพ่อองค์ดำสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเจริญศิลป์"หลวงพ่อองค์ดำ " ได้ประดิษฐานอยู่ที่วิหารหลักเมืองซึ่งจะอยู่ทางทิศตะวันตกของหนองทุ่งมนหลวงพ่อองค์ดำได้จำลองมาจากหลวงพ่อองค์ดำแห่งเมืองนาลันทา ประเทศอินเดียซึ่งประวัติความเป็นมา ของหลวงพ่อองค์ดำ มีบันทึกของ ราม ปีล่า สิงห์ ที่ได้บันทึกอ่านต่อ

วัดป่าโนนแสงคำ บ้านทุ่งคำ

 


วัดป่าโนนแสนคำ บ้านทุ่งคำ ตำบลเจริญศิลป์ อำเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนครหลวงปู่เนย สมจิตโต พระป่าสายพระอาจารย์ดี “พระครูวิมล สีลาภรณ์” หรือ “หลวงปู่เนย สมจิตโต” วัดป่าโนนแสนคำ บ้านทุ่งคำ ต.เจริญศิลป์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร ถือเป็นพระป่านักปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานที่มีความ เคร่งครัดในพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง อ่านต่อ


ศูนย์การเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"มูลมังอีสาน"

 


ศูนย์การเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มูลมังอีสานนายนาวี ฮังโยธา เป็นศูนย์กลาง การจัดการเรียนรู้ รวบรวม ขยายผล เชื่อมโยง สร้างเครือข่ายและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ และการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทตามแนวพระราชดำริและหลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เพื่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างต่อเนื่องมีความเข้มแข็งและยั่งยืน อ่านต่อ


อาชีพเกษตรกร

 


อำเภอเจริญศิลป์พื้นที่ที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัยร่วมกับธรรมชาติอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อาชีพเกษตรกรจึงถือเป็นรายได้หลักมาอย่างช้านาน เกษตรกรถือเป็นหัวใจสำคัญที่ช่วยสร้างผลผลิตให้กับคนไทยและอีกหลายล้านคนบนโลกมีอาหารดี ๆ ได้ทานเพื่อดำรงชีวิตอยู่ตลอด อ่านต่อ

ประเพณีรวมน้ำใจไทกะเลิง

 


           ประเพณีรวมน้ำใจไทกะเลิง เป็นประเพณีที่ประชาชนชาวอำเภอกุดบากจักขึ้นในทุกๆปี เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูอัตลักษณ์ วิถีชีวิต วัฒนธรรมดั้งเดิมของไทกะเลิง และทุกชนเผ่าในอำเภอกุดบากให้เข้มแข็ง และดำรงอยู่อย่างยั่งยืน ชนเผ่ากะเลิง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในหลาย ๆ กลุ่มที่อาศัยอยู่ในจังหวัดสกลนคร อ่านต่อ

การทอผ้าขิดยกดอก

 


              ผ้าย้อมครามถือเป็นภูมิปัญญาที่อยู่คู่กับชาวสกลนครมาเนินนาน มีความเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งชาวสกลนครทอผ้าด้วยมือไว้ใช้เองและเป็นเอกลักษณ์ของชาวสกลนครทางศูนย์อินแปงได้มีการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์จากผ้าครามในหลายรูปแบบซึ่ง ผ้าขิดยกดอกเป็นการทอผ้าครามที่เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านซึ่งได้มีการออกแบบลวดลายของผ้าครามให้มีความสวยงามและได้ใช้ อ่านต่อ

วัดป่าคูณคำวิปัสสนา (หลวงปู่ขาว)

 


วัดป่าคูณคำวิปัสสนา (หลวงปู่ขาว) ตั้งอยู่ที่บ้านกลาง หมู่ที่ 10 ต.กุดไห อ.กุดบากจ.สกลนคร ภายในวัดป่าคูณคำวิปัสสนา พระธาตุบรรจุพระอุรังคธาตุ ที่ยอดอุโบสถของวัดป่าคูณคำวิปัสสนามีรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เหนือขึ้นไปมีรังต่อขนาดใหญ่ที่มาสร้างรังอยู่ที่นั่น รอบอุโบสถมีหลวงพ่อทันใจ อ่านต่อ

ศูนย์อินแปง

 


อินแปงสถานที่อันอุดมเหมือนพระอินทร์แปง (สร้าง) กว่า ๒๓ ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ปี ๒๕๓๐ ที่มูลนิธิหมู่บ้านและวิทยาลัยครูสกลนคร ซึ่งปัจจุบันยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนครเมื่อปี ๒๕๓๘ ได้ร่วมกันทำโครงการศึกษาวิจัยวิถีชีวิตชาวกะเลิงบนเทือกเขาภูพาน โดยมีธวัชชัย กุณวงษ์ นักศึกษาในฐานะของนักวิจัยในขณะนั้นได้ฝังตัวใช้ชีวิตร่วมคลุกคลีกับชาวบ้านบัว อ่านต่อ

เสื้อผ้าครามเย็บมือ

 


          เสื้อผ้าครามเย็บมือ เป็นสินค้นที่มีคนต้องการจำนวนมาก เพราะเป็นงาน hand mand ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ และมีความสวยงาม มีเสนห์เฉพาะตัว เป็นเอกลักษณ์ของชาวอำเภอกุดบาก การพัฒนาแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มได้มีการพัฒนาลวดลายการเย็บ โดยเริ่มจากการเย็บธรรมดา ลวดลายตามท้องตลาด ลวดลายไม่ค่อยหลากหลาย อ่านต่อ

ประเพณีบุญบั้งไฟ บ้านพังโคน

 


งานบุญ มหาชาติและบุญบั้งไฟ อำเภอพังโคน จัดขึ้นในเขตเทศบาลตำบลพังโคน ในสัปดาห์แรกของเดือน พฤษภาคมของทุกปี กิจกรรมประกอบด้วย การประกวดบั้งไฟทางไกล เทศน์มหาชาติเทศกาลอาหารแซบ พังโคน และการประกวดขบวนแห่บั้งไฟ นับเป็นประเพณีความเชื่อที่สำคัญในคน อีสาน นิยมทำกันในเดือน ๖ ของ ทุกปี อ่านต่อ

ตะกร้าหวายลายขิต

 


            กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหนองหญ้าปล้อง ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ ๙๗ หมู่ ๗ ตำบลพังโคน อำเภอ  พังโคน จังหวัดสกลนคร โดยมี นางสุนทร แสงลุน เป็นประธานกลุ่มและมีสมาชิก ๓๐ คน ได้มีการสืบทอด  ภูมิปัญญาด้านการจักสาน และยังฝึกสอนให้แก่เยาวชนในท้องถิ่นและผู้สนใจทั่วไป พร้อมทั้งมีการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานประเภทต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการใช้สอย อ่านต่อ

เขื่อนน้ำอูน

 


          น้ำอูนเป็นสาขาที่สำคัญที่สุดของแม่น้ำสงคราม ในตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นน้ำอยู่ในทิวเขาภูพาน จังหวัดสกลนคร ไหลลงแม่น้ำโขงที่จังหวัดนครพนม เนื่องจากที่ราบสองฝั่งแม่น้ำอูนมีลักษณะเป็นแอ่ง ดังนั้น ในเวลาฝนตกหนักจึงถูกท่วมเป็นประจำ บริเวณที่ราบแถบนี้มีการเพาะปลูกมากทั้งข้าวและพืชอื่น ๆ แต่ในเวลาฝนตกน้ำก็ท่วม เกิดอุทกภัย ทำให้พืชผลเสียหายเป็นประจำ และช่วงขาดฝนก็ขาดน้ำ ไม่เพียงพอในการเพาะปลูก กรมชลประทานจึงสร้างเขื่อนเก็บน้ำขึ้นที่บ้านหนองบัว อำเภอพังโคน และอำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร อ่านต่อ

หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านโคกสามัคคี

 


         เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ได้มีการจับจองตั้งบ้านเรือนและที่ทํากินในพื้นที่ โดยการนํามาของผู้นําคือ นายสด สาธุชาติ นายสระ ทัศนพงษ์ นายมา มุงคุล นายคําพา ผายมอญ และนายบล กระพุทธา บ้านโคกสามัคคี เดิมเป็นเขตการปกครองของบ้านโพนสวาง และต่อมาเมื่อปี ๒๕๑๖ ได้แบ่งแยกการปกครองเป็นหมู่บ้านใหม่ที่มีชื่อ ว่าบ้านโคกสามัคคี มีนายพุทธ มาสู่ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก นายเบาะ พรมกสิกร และ นายทองแสง กะพุทธา ในสมัยปัจจุบันตามลําดับ อ่านต่อ

ไก่ย่างพังโคน

 


ไก่ย่างพังโคน เป็นภูมิปัญญาของคนพังโคนในการประกอบอาหารพื้นบ้าน ทำง่าย ขายคล่อง เป็นอาหารที่ขึ้นชื่อของอำเภอพังโคน ทำรายได้ให้กับผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย จำนวนมาก ต้นทุนต่ำ กำไรพออยู่ได้รับประทานได้กับทุกเพศทุกวัย รับประทานกับข้าวเหนียวอร่อย ราคาตัวละ ๖๐ -๘๐ บาท หาซื้อเป็นของฝากและรับประทานได้ที่อำเภอพังโคน อ่านต่อ

ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีเซิ้งผีตาโขน บ้านไฮหย่อง

 


สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเกษตร ประชาชนอาศัยเป็นกลุ่มๆ เป็นคุ้ม มีลำห้วยปลาหางไหลผ่าน ตำบลไฮหย่อง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอพังโคนห่างจากจังหวัดสกลนคร ประมาณ 50 กิโลเมตร พื้นที่ 30,744 ไร่ โดยแบ่งปกครองออกเป็น 18 หมู่บ้าน อ่านต่อ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น นางสายสุณี ไชยหงษา “ผ้าย้อมสีธรรมชาติจากมูลควาย”

 


          นางสายสุณี ไชยหงษา ประธานกลุ่มผ้าย้อมสีธรรมชาติจากมูลควาย ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ว่า บ้านนาเชือก ตำบลแร่ อำเภอพังโคน เป็นหมู่บ้านที่ห่างจากตัวอำเภอพังโคนประมาณ ๒๔ กิโลเมตร โดยทำเลที่ตั้งของหมู่บ้านติดกับลำน้ำอูน อ่านต่อ

"วิถีไทโย้ย" บ้านอุ่มเหม้า ต.ไฮหย่อง อ.พังโคน จ.สกลนคร

 


"อุ่มเหม้าถิ่นอุดม ชมประเพณีตักบาตรเช้า ผลิตข้าวพันธุ์ดี ผ้ามัดหมี่ลายโบราณ สืบสานวัฒนธรรมเก่า หมู่บ้านเผ่าไทโย้ย"

วันนี้เรามารู้จัก "บ้านอุ่มเหม้า" หมู่บ้านเล็ก ๆ ในตำบลไฮหย่อง อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร เมื่อท่านได้มาเยี่ยมชมแล้ว จะอยากมาสัมผัสบรรยากาศในหมู่บ้านแห่งนี้ อ่านต่อ

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร-ตำบลไฮหย่อง

 


ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร-ตำบลไฮหย่อง อำเภอพังโคน เดิมเป็นไร่นาสวนผสม เกิดจากการร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้านในตำบลไฮหย่อง ช่วยกันสร้างช่วยกันบำรุง จนเกิดเป็นศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร-ตำบลไฮหย่อง อ่านต่อ

การเกษตรกรรม

 


        การทำนา หมายถึง การปลูกข้าวและการดูแลรักษาต้นข้าวในนา ตั้งแต่ปลูกไปจนถึงเก็บเกี่ยว การปลูกข้าวในแต่ละท้องถิ่นจะแตกต่างกันไปตามสภาพของดินฟ้าอากาศ และสังคมของท้องถิ่นนั้น ๆ ในแหล่งที่ต้องอาศัยน้ำจากฝนเพียงอย่างเดียว ก็ต้องกะระยะเวลาการปลูกข้าวให้เหมาะสมกับช่วงที่มีฝนตกสม่ำเสมอและเก็บเกี่ยวในช่วงที่ฤดูฝนหมดพอดี เนื่องจากแต่ละท้องถิ่นมีสภาพดินฟ้าอากาศที่แตกต่างกัน อ่านต่อ

ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีชนเผ่าไทกะเลิง

 


ชนเผ่าไทกะเลิง อำเภอกุดบาก เป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวบ้านเผ่า "กะเลิง" ซึ่งเป็น 1 ใน 6 เผ่าของจังหวัดสกลนคร ประกอบไปด้วยชนเผ่าไทญ้อ - ชนเผ่าภูไท - ชนเผ่าไทโย้ย - ชนเผ่าไทกะโส้ - ชนเผ่าไทลาว - ชนเผ่าไทกะเลิง อ่านต่อ


ภูมิปัญญาท้องถิ่นการผลิตผ้าย้อมคราม อำเภอกุดบาก


าวบ้านในตำบลกุดแฮดและนาม่อง การรู้จัก ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิตเพื่อ ชะลอการนาเข้าตลาด เพื่อแก้ปัญหาด้าน การบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัดและเป็นธรรมอันเป็นกระบวนการให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถ พึ่งตนเองทาง เศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิต อ่านต่อ

 

จุดชมวิวเหวหำหด บ.กุดแฮด ต.กุดบาก

 


เป็นแหลงท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตั้งในเขตป่าชุมชนบ้านกุดแอด อยู่ห่างจากอำเภอกุดบากไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ ๕ กิโลเมตร และอยู่ห่างจากบ้านกุดแฮดประมาณ ๗ กิโลเมตรลักษณะเป็นบริเวณแนวผาของเทือกเขาภูพาน หน้าผ้ามีความยาวประมาณ ๔๐๐ เมตร จุดที่เรียกว่าเหวหำหด จะมีชะง่อนหินที่แยกตัวจากหน้าผา และความลึกของหน้าผาประมาณ ๒๕๐ เมตร อ่านต่อ

แหล่งเรียนรู้ที่เป็นศูนย์การเรียนชุมชน มีทั้งหมด 6 แหล่งเรียนรู้

 


แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่ เรียน ใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ อ่านต่อ

ทอผ้าคราม บ้านหนองสะไน

 


ชาวบ้านในตำบลนาม่อง ผลิตผ้าย้อมครามซึ่งการทอผ้าย้อมครามมีวิธีการขั้นตอนเริ่มตั้งแต่ การเลือกพื้นที่ปลูกคราม การดูแลรักษา การย้อมคราม แล มีผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอ ผ้าไหมย้อม ครามหลากหลายรูปแบบทั้งเสื้อผ้า พื้นเมือง ซิ่นผ้าคราม ผ้าครามชิ้น ผ้าคลุมไหล่ ผ้าไหมชิ้น ซิ่นผ้าไหมชิ้น และผลิตภัณฑ์แปรรูป เช่น กระเป๋า ผ้าคราม อ่านต่อ

ประเพณีสืบสานตำนานผู้ไทคำตากล้า


ในทุกปีๆ ชาวอำเภอคำตากล้า จะมีการจัดงาน สืบสานวัฒนธรรมประเพณี "ตำนานเมืองคำตากล้า ณ ลานที่ว่าการอำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนคร ขอย้อนรอยภูมิประวัติอันยิ่งใหญ่ ชาวภูไทคำตากล้าสง่าศรีเกียรติภูมิชาวภูไทถิ่นคนดี ประวัติมีคำบอกกล่าวยาวนาน อ่านต่อ


 

การทอผ้าย้อมสีจากเปลือกไม้

 


ผ้าทอเป็นสื่อสัญลักษณ์ของคนในแต่ละชุมชนแสดงถึงเชื้อชาติเผ่าพันธุ์และความแตกต่างทางวัฒนธรรมผ้าทอยังคงเป็นปัจจัยสำคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่แก่จนถึงตายและมีบทบาทสำคัญทั้งในแง่เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมการทอผ้าเริ่มจากการสานมนุษย์เริ่มสานต้นหญ้าอ่อนเพื่อใช้ใส่วัสดุสิ่งของ อ่านต่อ

"ผาศักดิ์" แกรนด์แคนยอนสกลนคร

 


ตั้งอยู่ที่บ้านผาศักดิ์ หมู่ 13 ต.คำตากล้า ห่างจากที่ว่าการอำเภอคำตากล้าทางทิศตะวันออก เดินทางไปตามถนนสายคำตากล้า-ท่าก้อน ระยะทาง 6 กิโลเมตร เป็นผาสูงติดกับริมฝั่งแม่น้ำสงคราม บรรยากาศและทิวทัศน์ธรรมชาติสวยงาม สามารถลงเล่นน้ำในแม่น้ำสงครามได้ อ่านต่อ
 

โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริฯ เสนานฤมิตร

 


สืบเนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรบ้านท่าแร่-ดงปลาปาก ตําบลโพนงาม อําเภออากาศอํานวย จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2548 และที่ศูนย์ส่งเสริม ศิลปาชีพบ้านดอนคํา-เสนานฤมิตร ตําบลนาแต้ อําเภอคําตากล้า จังหวัดสกลนครเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ได้มีราษฎรถวายฎีกาขอความช่วยเหลือในการประกอบอาชีพต่างๆ จากเหตุผลดังกล่าว จึงทํา ให้พระองค์ท่านได้พระราชทานความช่วยเหลือ ประกอบกับได้มีราษฎรได้ทูลเกล้าถวายที่ดินให้จัดสร้าง ฟาร์มตัวอย่างขึ้น เพื่อช่วยเหลือราษฎรในบริเวณใกล้เคียง อ่านต่อ

นวดแผนไทย

 


การนวดแผนไทย เป็นศาสตร์ทางการแพทย์โบราณที่ทรงคุณค่า ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้เยาวชนคนรุ่นหลัง เพราะมีคุณประโยชน์มากต่อสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นด้านการรักษาและบำบัดโรค แก้อาการปวดเมื่อย หรือด้านการให้บริการควบคู่ไปกับการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติให้ความสนใจเป็นอย่างมากต่อภูมิปัญญาการนวดไทย อ่านต่อ

ประเพณีสืบสานตำนานผู้ไทคำตากล้า

 


ในทุกปีๆ ชาวอำเภอคำตากล้า จะมีการจัดงาน สืบสานวัฒนธรรมประเพณี "ตำนานเมืองคำตากล้า ณ ลานที่ว่าการอำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนคร ประวัติ "ภูไทคำตากล้า"ขอย้อนรอยภูมิประวัติอันยิ่งใหญ่ชาวภูไทคำตากล้าสง่าศรีเกียรติภูมิชาวภูไทถิ่นคนดีประวัติมีคำบอกกล่าวยาวนาน อ่านต่อ


การทำผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ

 


องค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปะการนำผ้ามาย้อมด้วยสีที่ได้จากธรรมชาติ ไม่ใช่สิ่งแปลก หรือพึ่งจะค้นพบนวัตกรรมใหม่แต่อย่างใด แต่ความรู้ภูมิปัญญาดังกล่าวได้ถูกค้นพบ ปฏิบัติและถ่ายทอดมาจากรุ่นสู่รุ่น ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ดังจะเห็นได้ว่า พระพุทธเจ้าพร้อมสาวกทั้งหลายก็ใช้ผ้าบังสุกุลสีขาว อ่านต่อ

"ผาศักดิ์" แกรนด์แคนยอนสกลนคร

 


ตั้งอยู่ที่บ้านผาศักดิ์ หมู่ 13 ต.คำตากล้า ห่างจากที่ว่าการอำเภอคำตากล้าทางทิศตะวันออก เดินทางไปตามถนนสายคำตากล้า-ท่าก้อน ระยะทาง 6 กิโลเมตร เป็นผาสูงติดกับริมฝั่งแม่น้ำสงคราม บรรยากาศและทิวทัศน์ธรรมชาติสวยงาม สามารถลงเล่นน้ำในแม่น้ำสงคราม ได้ อ่านต่อ

โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริฯ บ้านนาคำ

 


โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริฯ บ้านนาคำ

ที่ตั้ง : บ้านนาคำ หมู่ที่ 15 บ้านนาคำ ตำบลคำตากล้า อำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนคร

ประวัติความเป็นมา สืบเนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2548 และที่ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบ้านดอนคำ - เสนานฤมิตร ต.นาแต้ อ.คำตากล้า จ.สกลนคร เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2548 ได้มีราษฎรถวายฎีกา ขอความช่วยเหลือในการประกอบอาชีพต่างๆ อ่านต่อ

การสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่

 


การสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่พื้นที่ปฏิบัติ : บ้านหนองพอกใหญ่ หมู่ 3 ตำบลนาแต้ อำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนครประวัติความเป็นมาภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าที่บรรพบุรุษได้สร้างไว้ โดยเฉพาะการเครื่องจักสานไม้ไผ่เป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมที่พบได้ในแหล่งชนบทของประเทศไทยทั่วทุกภาค ซึ่งจะเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ทั่วทุกภาคอ่านต่อ


หมอสมุนไพร

 


         บริบทของหมอพื้นบ้าน โดยความเป็นมาของหมอพื้นบ้านนั้น ได้แก่ส่วนใหญ่มักมีบรรพบุรุษ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย เป็นหมอยาสมุนไพร แล้วถ่ายทอดโดยวิธีเป็นผู้ช่วยเหลือในการเก็บยาสมุนไพรตั้งแต่เป็นเด็กบ้าง ช่วยฝนยาบ้าง เช่นกรณีนายจันทร์ ศรีเมืองไพร บ้านวังทอง ต.วังทองอ.บ้านดุง จ.อุดรธานี เดิมบรรพบุรุษเป็นหมอพื้นบ้านมาก่อน ได้เรียนจากปู่ผา ปู่มา และพ่อ อ่านต่อ

การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก

 


     การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกชื่อภูมิปัญญา นางบุญเทียม สีสุดาพื้นที่ปฏิบัติ หมู่ที่ 7 บ้านป่าผาง ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนครประวัติความเป็นมา( สื่อกก )เป็นผลิตภัณฑ์ที่พบเห็นแทบทุกจังหวัดในประเทศไทยซึ่งแรกเริ่มสมัยบรรพบุรุษจะเป็นการทอเสื่อกกไว้ใช้เองในครัวเรือนโดยใช้กกเหลี่ยมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในท้องทุ่ง หรือแหล่งน้ำธรรมชาติ อ่านต่อ

วัดยอดลำธาร

 


วัดยอดลำธาร

พื้นที่ปฏิบัติ บ้านนาแก้ว หมู่ 9 ตำบลนาแก้ว อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนครประวัติความเป็นมา วัดยอดลำธาร ตั้งอยู่บ้านนาแก้ว หมู่ 9 ตำบลนาแก้ว อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร ด้านหน้าของอุโบสถมีรูปปั้นยักษ์ขนาดใหญ่ ๒ ตน ยืนอยู่สองข้างระหว่างบันไดทางขึ้น ตนที่ยืนอยู่ข้างบันไดด้านทิศเหนือ เป็นยักษ์โข ( เพศชาย ) มีกระบองเป็นอาวุธ สวมกางเกงทับด้วยโจงกระเบน เสื้อแขนสั้น ประดับสังวานลย์และชฎา อ่านต่อ


ห้องสมุดประชาชนอำเภอโพนนาแก้ว

 


ห้องสมุดประชาชนอำเภอโพนนาแก้ว มีบทบาทและหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนนักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป ได้รับความรู้ความเข้าใจในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อ่านต่อ

การทำข้าวต้มมัด

 


        ข้าวต้มมัดเป็นหนึ่งในขนมไทย ที่น้อยคนนักจะบอกว่าไม่รู้จัก เนื่องจากเป็นขนมที่มีประโยชน์ และมีคุณค่าทางอาหาร สามารถหาวัตถุดิบในการทำได้ง่ายในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังเป็นขนมที่นำข้าวซึ่งเป็นอาหารหลักของคนไทยนำมาประยุกต์ ปรุงแต่งเป็นขนมหวาน จึงถือได้ว่า “ข้าวต้มมัด” เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาท้องถิ่นของบรรพบุรุษไทย อ่านต่อ

ประเพณี ผีหมอเหยา

 


ประเพณีหมอเหยาหรือเลี้ยงผีหมอ เป็นประเพณีชาวอีสาน จัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคม ตามประเพณีเชื่อว่าหากได้ทำบุญเลี้ยงผีหมอตนเอง ชาวบ้าน จะมีความอุดมสมบูรณ์ มีความสุขความเจริญ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ในพิธีหมอเหยาหรือเลี้ยงผีหมอ จะมีการจัดเตรียมสิ่งของ เครื่องเช่นไหว้ อาหารคาวหวาน ตามประเพณี มีการจัดกิจกรรมรื่นเริงร่ายรำ ประกอบดนตรีพื้นบ้าน อ่านต่อ



ภูมิปัญญา “เครื่องจักรสานไม้ไผ่” ลุงสมพงษ์ กล่อมใจ


          งานจักสานไม้ไผ่ เป็นงานศิลปหัตถกรรม ที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของชาวบ้านได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นความชาญฉลาดในการเลือกสรรวัตถุดิบ ที่จะนำมาใช้ทำผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ซึ่งชาวบ้านจะมีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัตถุดิบแต่ละชนิดเป็นอย่างดี ตลอดจนการนำมาดัดแปลงแปรสามารถนำมาใช้สอยได้ สิ่งเหล่านี้เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่ชาวบ้านเรียนรู้สืบต่อกันมตั้งแต่บรรพบุรุษ จนทำให้เครื่องจักสานแต่ละชนิดมีรูปแบบ และประโยชน์ใช้สอยที่สมบูรณ์ลงตัวเครื่องจักสาน อ่านต่อ

 

วัดป่าโนนขุมเงิน

 


ถ้าจะกล่าวถึงวัดหรือพุทธสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และงดงามในอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร ใครๆก็ต้องนึกถึงวัดป่าโนนขุมเงิน หลวงพ่อทวยเทพ สุภาจาโร โนนขุมเงิน ที่ตั้งวัดป่าแห่งนี้เคยเป็นป่ารกเรื้อเนื้อที่กว่า ๕๐ ไร่ (ปัจจุบันมีการซื้อเพิ่มขยายขึ้นมาก) ตั้งอยู่บนเนินดินยอดร่องน้ำ กลางทุ่งนาในเขตตำบลนาตงพัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร อ่านต่อ

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ตำบลนาแก้ว

 


“ดินแดนถิ่นหนองผือ งามเลื่องลือสาวภูไท ภาคภูมิใจงานจักสาน สวยตระการผ้าครามมุก แสนสนุกบุญผะเวส สวนเกษตรอนุรักษ์ควายไทยศูนย์รวมใจวัดอินทรังสฤษฎิ์ เชิญหมู่มิตรมาเยี่ยมเยียน”บ้านหนองผือ ชาติภูมิแรกเดิมนั้นเป็นเผ่าภู 4 ซึ่งสืบเชื้อสายเดิมมาจากชาติมงโกลหลายเผ่า เช่น เผ่าภูไท เผ่าย้อ เผ่ากะเลิง (ปู่ไถ่) ไท เดิมมาจากคําว่า เผ่าโซ่และลาว เนื่องจากชนกลุ่มนี้ชอบอิสระรักความสงบ อ่านต่อ

“คราม” วัฒนธรรมการสวมใส่ สู่แฟชั่นประยุกต์ บ้านอ่างคำ ตำบลนาตาล อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร

 


เมื่อมีงานบุญ เทศกาล หรืองานที่เป็นพิธีต่าง ๆ ในอำเภอเต่างอยหรือในเขตพื้นที่จังหวัดสกลนคร สิ่งที่สะดุดตาเป็นอย่างแรกเมื่อเดินเข้าไปในงานคือวัฒนธรรมการแต่งตัวของชาวบ้าน ที่พร้อมใจกันสวมใส่ผ้าครามโดยไม่ได้นัดหมาย ไม่ว่าจะเป็นชุดผ้าคราม ซิ่นผ้าคราม อ่านต่อ

อุทยานแห่งชาติภูผายล ยลถิ่นน้ำ ธรรมชาติงดงาม บ้านห้วยหวด ตำบลจันทร์เพ็ญ อำเภอเต่างอย

 


อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ถือเป็นอำเภอที่อุดมด้วยน้ำและธรรมชาติที่งดงาม ด้วยภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับกับเทือกเขาหินทราย รายล้อมด้วยภูเขาสูงชัน และเป็นต้นน้ำลำธารสำคัญของแม่น้ำหลายสายที่ไหลลงสู่แม่น้ำพุง หนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สำคัญของอำเภอเต่างอยก็คือ “อุทยานแห่งชาติภูผายล” อ่านต่อ

“ข้าวฮางงอก” ภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ ชุมชนบ้านนาเลา ตำบลบึงทวาย อำเภอเต่างอย

 


ย้อนกลับไปในสมัยก่อนวิถีชีวิตการกิน การอยู่ ของชาวบ้านนาเลา ตำบลบึงทวาย อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นหลัก ชาวนาเพาะปลูกข้าวหาเลี้ยงครอบครัว และเหลือบริโภคทุกปี เป็นเรื่องน่าเสียดายหากจะทิ้งผลผลิตเหล่านั้น ชาวบ้านจึงนำข้าวสารมาแปรรูปเพื่อจะเก็บรักษาข้าวให้มีอายุการบริโภคยืนยาวขึ้น อ่านต่อ

เรียนรู้จากธรรมชาติ บ้านดงหลวง ตำบลบึงทวาย อำเภอเต่างอย

 


กว่าต้นไม้จะแผ่รากอย่างยั่งยืนล้วนต้องใช้เวลา ชีวิตคนก็ใช่ว่าจะยั่งยืนเฉกเช่นต้นไม้ ต่อให้ลำต้นสูงใหญ่เติบโตเพียงใด เมื่อถึงคราต้องถูกโค่นล้มตามกระแสวัฏจักรของชีวิตที่เป็นไปอย่างไม่เที่ยง ต้องใช้แรงใจและพลังจากผู้คนมากมายหากจะยืนหยัดอยู่ได้ ด้วยความรักและความสามัคคีเกื้อหนุนกันในสังคม “ต้นยางใหญ่” ของหมู่บ้านดงหลวง ตำบลบึงทวาย อำเภอเต่างอย อ่านต่อ


ข้อคิดเห็นจากเครือข่าย TKP

 
Copyright © 2018 ศูนย์ข้อมูลความรู้ประชาชนจังหวัดสกลนคร. Designed by OddThemes > Developed by mediathailand